มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
เจดีย์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลกถูกขุดค้นพบในรัฐวิหาร
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 6
ธรรมดา การที่มนุษย์จะไปสู่สวรรค์ได้นั้น ก็ต่อเมื่อหลังจากที่ตายจากโลกนี้ไปแล้วเท่านั้น จึงจะไปสู่เทวโลกด้วยกายทิพย์ แต่ก็ต้องเป็นบุคคลที่ได้สั่งสมบุญเอาไว้เป็นอย่างดีแล้ว
อานิสงส์บริจาคเครื่องประดับสร้างเจดีย์
ผู้ได้ทำบุญไว้อย่างดีแล้ว ย่อมเพลิดเพลินในโลกนี้ ละโลกนี้ไปแล้ว ก็มีความเพลิดเพลินในโลกหน้า เขาย่อมเพลิดเพลินในโลกทั้งสอง เพราะมองเห็นว่า เราได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้ว ย่อมเพลิดเพลินในสุคติโลกสวรรค์ยิ่งขึ้นไป
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
วันธรรมชัย 27 สิงหาคม วันแห่งการประกาศชัยชนะ
วันธรรมชัย คือ วันอุปสมบทของหลวงพ่อธัมมชโย วัดพระธรรมกาย คำว่า “ธรรมชัย” มาจากฉายาของหลวงพ่อธัมมยโชที่ได้รับในวันอุปสมบท มีความหมายว่า "ผู้ชนะโดยธรรม"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้เป็นแสงสว่างของโลก
"น่าอัศจรรย์จริงหนอ ฆฏิการะผู้เป็นเพียงช่างปั้นหม้อ กล้ามาดึงมวยผมเราผู้เป็นเผ่าพันธุ์ของพระพรหม ตามปกติเพื่อนของเราไม่เคยทำอย่างนี้ มีแต่ความปรารถนาดีต่อเรามาตลอด ไม่เคยชักชวนไปในทางที่ผิดเลย การไปพบ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คงจะเป็นการดีเป็นแน่"
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...
ธุดงค์ธรรมชัย 6 จังหวัด 365 กม. รับปี 2555
วัดพระธรรมกายและมูลนิธิ ธรรมกาย โดยดำริของพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิ ธรรมกาย ร่วมกับ 25 องค์กรภาคี จัดเดิน “ธุดงค์ธรรมชัย”
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้