วัดใหม่ทองเสน
กลางกรุงเทพมหานครใกล้สี่แยกเกียกาย เขตดุสิต เป็นที่ตั้งของวัดใหม่ทองเสน วัดที่ตั้งขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ ๓ ในปีพุทธศักราช ๒๓๖๕ ผู้สร้างวัดใหม่ทองเสนคือพระธรรมอุดม ท่านเป็นพระผู้ใหญ่ที่มีผู้คนนับถือมากและเป็นพระคู่เทศก์ปุจฉา วิสัจฉนากับเจ้าพระคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
วัดบรรพตมโนรมย์
วัดบรรพตมโนรมย์ "วัดผาชัน" หรือเรียกตามลำห้วยที่อยู่ใกล้วัดว่า "วัดห้วยผาชัน" อยู่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๗ จึงได้ขอตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดบรรพตมโนรมย์
วัดน้อยนพคุณ
วัดน้อยนพคุณ : บนพื้นที่อันร่มรื่นของพื้นที่ดุสิต ถนนพระราม๕ แขวงนครไชยศรี ติดกับบ้านพักของทหารและเอกชน มีวัดหลังน้อยชื่อว่า วัดน้อยนพคุณหรือวัดน้อย
วัดกร่าง
วัดกร่างเป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเดิมเป็นป่าไผ่กุฏิทรงไทยและหอสวดมนต์ทรงรามัญบริเวณวัดมีลานร่มรื่นด้วยต้นไม้ใหญ่ที่ริมแม่น้ำปลุกสร้างศาลาหลังย่อม เป็นที่พักผ่อนและเลี้ยงปลา
วัดโคนอน ตำนานพระธุดงค์วัดโคนอน
วัดโคนอน ถือว่าเป็นวัดกลางป่ากลางดงขาดการบูรณะจึงได้มีการบูรณะจัดรูปแบบให้เป็นระเบียบโดยใช้อุโบสถเป็นศูนย์กลางใครที่มาถึงวัดโคนอนแห่งนี้ จะสัมผัสได้ถึงต้นไม้ใหญ่นับร้อยแผ่กิ่งใบให้ความร่มรื่น
วัดโพธิ์นิ่มรัตนาราม
วัดโพธิ์นิ่มรัตตาราม ตั้งอยู่ที่ตำบลเชียงรากน้อย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานีชื่อวัดจึงเรียกตามคลองที่ขุดว่า วัดคลองขุด จากหลักฐานที่ได้จากแผนกศึกษาธิการอำเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี
วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร
วัดบรมวงศ์อิศรวรารามเป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำป่าสัก ในท้องที่หมู่บ้านเพนียด ตำบลสวนพริก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แต่เดิมเรียกกันว่าวัดทำเลหญ้าหรือวัดทะเลหญ้าเพราะตั้งอยู่ท่ามกลางทุ่งหญ้ากว้าง ซึ่งเป็นที่มาของวัดแห่งนี้
พุทธศาสนาในสายตาชาวโลก
การที่เราเกิดมาอยู่ในพระพุทธศาสนาถือเป็นเรื่องที่โชคดี ทำให้เรารู้เป้าหมายในชีวิต และรู้ว่าเราเกิดมาทำไมเมื่อเกิดปัญหาก็สามารถนำหลักธรรมใช้แก้ปัญหาในชีวิตได้
วัดศรีสุทธาราม (วัดกำพร้า)
วัดศรีสุทธารามหรือวัดกำพร้า ซึ่งตั้งอยู่ริมปากอ่าวแม่น้ำท่าจีนวัด ณ ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร และมีศาลประดิษฐานพระรูปกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ให้สักการะกราบไหว้
วัดบึงพลาญชัย
วัดบึงพลาญชัยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ถนนประชาธรรมรักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่เศษ เป็นศูนย์อบรมศึกษาของพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง ๑๙ จังหวัด มีพระภิกษุและสามเณรจำพรรษาประมาณ ๑๓๐ รูป