ภาพมุทิตาสักการะพระราชภาวนาจารย์ ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย
ภาพมุทิตาสักการะพระราชภาวนาจารย์ ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย พิธีมุทิตาสักการะพระภาวนาวิริยคุณเลื่อนสมณะศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย 5 ธันวาคม พ.ศ.2556
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ผู้ประมาทในวัย
รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลาย ผู้สัญจรไปบนแผ่นดิน ชนิดใดชนิดหนึ่ง ทั้งหมดนั้นย่อมถึงความประชุมลงในรอยเท้าช้าง บัณฑิตกล่าวว่า รอยเท้าช้าง เลิศกว่ารอยเท้าสัตว์ทั้งหลาย เพราะเป็นรอยใหญ่ แม้ฉันใด กุศลธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งทั้งหมดนั้น มีความไม่ประมาทเป็นมูล รวมลงในความไม่ประมาท บัณฑิตกล่าวว่า ความไม่ประมาท เลิศกว่ากุศลธรรมทั้งหลาย
เราจะได้อะไรจากการสวดมนต์อย่างถูกหลักวิชชา
การสวดมนต์สรรเสริญคุณของพระรัตนตรัยอย่างถูกหลักวิชชานั้น เราต้องเปล่งเสียงสวดมนต์ออกมาจากแหล่งแห่งความบริสุทธิ์ภายใน โดยการหลับตา...
ข่าวจากโพสต์ทูเดย์ วัดพระธรรมกาย ช่วยพระพุทธศาสนาให้หยั่งรากลึกในยุโรป
คนไทยในประเทศยุโรปมีที่พึ่งทางใจ มีที่ปฏิบัติภาวนา สร้างสรรค์เส้นทางบุญกันได้มากขึ้น เมื่อวัดพระธรรมกายตั้งสาขาวัดในยุโรป 10 ประเทศ รวมถึง 21 วัด ยังมีแผนขยายให้มากขึ้นอีก ที่มีผลงานขนาดนี้นอกจากวิสัยทัศน์ยาวไกลของพระเถระจากวัดพระธรรมกายในเมืองไทยแล้ว ข่าวเด่น,
เพลงลอยกระทง รำวงวันลอยกระทง
เพลงรำวงวันลอยกระทง เนื้อเพลง รำวงลอยกระทง วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกันจริง วันลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง..
พิธีต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
การเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์พระสงฆ์ประจำปี พ.ศ. 2557
“ในหลวง” โปรดเกล้าฯ สถาปนา เลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ พระสงฆ์ประจำปี 2557 วัดไตรมิตรฯ เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์” รูปใหม่ ขณะที่ “พระธรรมกิตติวงศ์” วัดราชโอรสาราม ขึ้นรองสมเด็จที่ราชทินนาม “พระมหาโพธิวงศาจารย์” ส่วน “หลวงพ่อเณร-พระราชพิพัฒนโกศล” วัดศรีสุดาราม เป็น “พระเทพประสิทธิมนต์” พระนักพัฒนาจากวัดกระทุ่มแพ้ว จ.ปราจีนบุรี เป็นเจ้าคุณใหม่ที่ “พระสิทธิวีรานุวัฒน์”
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย วันศุกร์ ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 20.00 น. ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด