หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวสิงคโปร์ ตอนที่ 2
การแสดงดนตรี ผู้คนแต่ละเชื้อชาติที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินสิงคโปร์มีเครื่องดนตรีประจำชาติเป็นของตน อาทิ วีนา (Veena) ของชาวอินเดีย กู่เจิงของชาวจีน แต่ดนตรีได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศสิงคโปร์และได้รับจากนานาประเทศ คือ การบรรเลงเพลงของวงออร์เคสตราจีนแห่งสิงคโปร์ (Singapore Chinese Orchestra.) ซึ่งเป็นวงที่รวมเครื่องดนตรีสากลไว้ด้วยกันนับ 30 ชนิด เช่น ขลุ่ยผิว พิณจีนโบราณชนิดต่างๆ ขิมจีน เป็นต้น
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวเขมร
เป็น อยู่ คือ.... วิถีชาวเขมร ในอดีตนั้นชนชาติที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้คือขอม ต่อมาเรียกว่าเขมรจนเป็นกัมพูชาเช่นปัจจุบัน ประชากรที่อาศัยในกัมพูชาส่วนมากเป็นชาวกัมพูชาร้อยละ 96 นอกจากนั้นเป็นชาวเวียดนาม จีน และอื่นๆ
พิธีส่งตัวพระภิกษุสามเณรที่สอบผ่านป.ธ. 6 และ 9 รับพัดยศ
โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดพระธรรมกาย จัดพิธีส่งตัวพระภิกษุสามเณรที่สอบผ่านเปรียญธรรมประโยค9 และประโยค 6 เพื่อรับพัดยศ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2557
แม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดตรวจข้อสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2557 ชั้น ป.1 - 2 ถึง ป.ธ.9 (ทุกชั้นประโยค)
เทศกาล อาหาร และการแต่งกาย ของประเทศมาเลเซีย
ฮารีรายออิดิลฟิตรี้ จัดขึ้นหลังเดือนเราะมะฎอน (เดือนแห่งการถือศีลลอดมุสลิมทั่วโลก) โดยเริ่มตั้งแต่สิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน ในตอนเช้ามุสลิมในประเทศมาเลเซียจะเดินทางไปละหมาดร่วมกันที่มัสยิด จากนั้นจะเดินทางไปเยี่ยมกุโบร์หรือสุลานของบรรพบุรุษ
พิธีเปิดสนามสอบเปรียญธรรม 7 ประโยค
เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร เป็นประธานเปิดสอบบาลีสนามหลวง ในระดับชั้นเปรียญธรรมประโยค 7 ทั่วประเทศ ณ สนามสอบวัดสามพระยา