โอวาทหลวงปู่วัดปากน้ำเกี่ยวกับการให้ทานและรักษาศีล
โอวาทและคำสอนจากหลวงปู่วัดปากน้ำเกี่ยวกับการทำทาน รักษาศีล และการสร้างบุญ เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาได้เข้าใจหลักธรรมในชีวิตประจำวัน.
มหาสมบัติจักรพรรดิ (๑)
ความเป็นพระราชาประเทศราช ความเป็นใหญ่ สุขของพระเจ้าจักรพรรดิที่น่าปรารถนา แม้ความเป็นราชาแห่งเทวดาในทิพยวิมาน อิฐผลทั้งหมดนั้นอันเทวดาและมนุษย์ ย่อมได้ด้วยขุมทรัพย์คือบุญนี้
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - ทําสิ่งแวดล้อมให้เป็นปฏิรูปเทส ( ๓ )
โดยปกติเมื่อพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม แม้คนฟังยืนอยู่ข้างหน้า ข้างหลังหรืออยู่เลยไปร้อยจักรวาล พันจักรวาลก็ตาม อยู่ในรูปภพหรืออรูปภพก็ตาม ต่างพากันกล่าวว่า "พระศาสดาทอดพระเนตรดูเราคนเดียว ทรงแสดงธรรมโปรดเราคนเดียว" นี้คืออานุภาพแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา
สร้างองค์พระ"ปิดเจดีย์" 200 องค์ และถวายส้มสีทอง 14 ตัน
รวมใจสร้างองค์พระ “ปิดเจดีย์ ” จำนวน 200 องค์ และถวายส้มสีทองจำนวน 14 ตัน หรือ กว่าหนึ่งแสนหนึ่งหมื่นลูก แด่คณะพระภิกษุสงฆ์กว่าแสนรูปจากทั่วประเทศ ในวันคุ้มครองโลก 22 เมษายน 2552 นี้
ขอเรียนเชิญร่วมบุญสร้าง "โรงครัว 71 ปี พระเทพญาณมหามุนี"
ขอเรียนเชิญร่วมบุญสร้าง โรงครัว 71 ปี พระเทพญาณมหามุนี โดยในวันวิสาขบูชาปีนี้ จะสร้างอาคารโภชนาการ (โรงครัว2) เพื่อผลิตอาหารสำหรับงานบุญใหญ่โดยเฉพาะ ตามหลักการที่คุณยายอาจารย์ ได้มอบไว้คือ คนมาล้านก็ให้เลี้ยงได้ล้าน
โลกุตรภูมิ ภูมิที่พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด
โลกุตรภูมิ คือ ภูมิหรือชั้นที่พ้นจากภพ 3 คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ หมายถึง ระดับจิตของพระอริยบุคคลที่พ้นจากกิเลสโดยเด็ดขาดตามลำดับ และรวมถึงอมตมหานิพพานด้วย
อานิสงส์การรักษาศีล 5
“เรารักษาศีล 5 บริบูรณ์แล้ว ทำให้ไม่ต้องตกอบายภูมิอีกเลย การที่เรารักษาศีล 5 ย่อมได้อานิสงส์ 3 ประการ คือ เป็นผู้มีอายุยืน มีโภคสมบัติมาก มีปัญญาคมกล้า”
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 3
การทำอธิมุตกาลกิริยา (อะ-ธิ-มุต-ตะ-กา-ละ-กิ-ริ-ยา) คือการอธิษฐานจิตดับชีพของตนลงมาเกิดสร้างบารมีในโลกมนุษย์นี้ จะทำได้ก็เฉพาะพระโพธิสัตว์เจ้าทั้งหลายที่สถิตอยู่ในสวรรค์ชั้นดุสิตเท่า นั้น
ครูนั้นมีความสำคัญมากน้อยแค่ไหน
ครูคือผู้ที่มีความสำคัญมากต่อลูกศิษย์ และเป็นผู้ที่มีพระคุณอย่างมาก เพราะมีหน้าที่อบรมสั่งสอนศิษย์ให้ความเมตตา เปรียบเสมือนเป็นบิดามารดาคนที่ 2 ก็ว่าได้
นกน้อยผู้มีจิตเลื่อมใส
“เอวํ อจินฺติยา พุทฺธา พุทฺธธมฺมา อจินฺติยา อจินฺติเยสุ ปสนฺนานํ วิปาโก โหตฺยจินฺติโย พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าและพระคุณของพระองค์ก็เป็นอจินไตยเช่นกัน” (ขุททกนิกาย อปทาน)