รายชื่อหัวหน้าองค์กรเครือข่ายยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
ได้รับเกียรติจากหัวหน้าองค์กรเครือข่าย ที่เป็นสมาชิกขององค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก(ยพสล.) ประกอบด้วยพระภิกษุ 7 รูป, ภิกษุณี 3 รูป และฆราวาส 30 ท่าน
เสาหลักต้นเล็ก
เด็กบางคนอายุยังน้อยกลับต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว กลายเป็นเสาหลักให้ครอบครัวแม้ยังเป็นเสาหลักต้นเล็กอยู่
เกิดนอกบุญเขต-หมวดปัญหาสังคม
เกิดนอกบุญเขต ประกอบด้วย เกิดในครอบครัวเทวนิยม ไม่เชื่อศาสนาใดเลย ย้าย / เปลี่ยนศาสนาทั้งครอบครัว หลุด / พลัดจากหมู่คณะ และเป็นผู้สั่งสอนคำสอนเทวนิยม
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
ภูเขาไฟที่เปลี่ยนไป
พระเดชพระคุณหลวงพ่อคะ ถ้าไม่อยากได้จึงได้ใช่ไหมคะ...ในรอบต่อๆมา ลูกทำใจเย็นๆ หยุดนิ่งเฉยไปตามลำดับ ใจลูกเคลื่อนผ่านกายเทวดานั้น ผ่านไปเร็วมาก ผ่าน ผ่าน ผ่าน จนหยุดนิ่ง อยู่กลางองค์พระชัดใสสว่าง ใจของลูกขยายเท่าองค์พระ แล้วก็ขยายอีก สนิทเป็นองค์พระ ลูกมีความสุขมากๆ สุขแบบนิ่งนิ่งภายใน
ชัยชนะครั้งที่ 4 (ตอน ชนะองคุลิมาล)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ทรงใช้ฤทธิ์ทางใจ ให้เป็นอิทธาภิสังขาร ทรงชนะองคุลิมาล ผู้แสนโหดเหี้ยมร้ายกาจ มีฝีมือฉกรรจ์ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ สิ้นทาง ๓ โยชน์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางในสรรพสิ่ง
สรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ไม่ว่าจะเป็นต้นไม้ใบหญ้า รถราบ้านช่อง คนสัตว์สิ่งของ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เหมือนต้นไม้ที่เราเคยเห็นต้นเล็กๆ ไม่นานก็เจริญเติบโตขึ้น แผ่กิ่งก้านสาขาออกดอกออกผล ให้ความสดชื่นแก่ทุกชีวิต แต่ไม่นาน ดอกไม้ที่ดูสวยสดงดงามเหล่านั้น ก็เหี่ยวแห้ง ร่วงโรยไปตามกาลเวลา ชีวิตของเราก็เช่นเดียวกัน
วันธรรมชัย ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ
วันธรรมชัยนี้มีบุญใหญ่ เรามาศึกษาโอวาทที่คุณครูไม่ใหญ่ไห้ไว้ว่า "ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ" แล้วอะไรคือความหมายของคำว่า ใจใส ใจสบาย ทำอย่างไรให้ใจใส "ใจหยุดที่ฐานที่เจ็ด ทำอะไรก็สำเร็จอย่างสบายๆ" ใจหยุดเป็นอย่างไร ทำอย่างไรให้ใจหยุด พร้อมกับมาเอาบุญใหญ่จากการถวายยารักษาโรคในวันธรรมชัยนี้ 02-831-1000
ปราศจากวิญญาณ
วิญญาณ ในพระพุทธศาสนา ไม่ใช่หมายถึง วิญญาณล่องลอยที่เป็นผี แต่หมายถึงสภาพธรรมที่รู้อารมณ์ คือ เป็นสภาพรู้ เป็นใหญ่ในการรู้ เรียกว่าวิญญาณ คือ จิต ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงวิญญาณก็คือสภาพธรรมที่เป็นจิต วิญญาณหรือ จิตจึงมีหลายประเภทเช่น จักขุวิญญาณ หรือ จิตเห็น โสตวิญญาณ หรือ จิตได้ยิน ดังนั้นเมื่อวิญญาณหรือจิตเกิดขึ้น เป็นสภาพรู้ ก็ต้องมีสิ่งที่ถูกรู้ เช่น จิตเห็น(จักขุ วิญญาณจิต) เมื่อเกิดขึ้นก็ต้องมีสิ่งที่ถูกเห็นคือ สี เป็นต้น
อายุ 120 ปี ทำไมจะทำไม่ได้