นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 4
คุณลักษณะพระนิพพาน มีกล่าวไว้จำนวนมากในพระไตรปิฎก แต่ในที่นี้จะนำมากล่าวเฉพาะคุณลักษณะที่น่าปรารถนา อันมีอยู่ในพระนิพพาน ซึ่งพอจะเทียบเคียงกับความรู้สึกของคนโดยทั่วไปให้เข้าใจได้
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 2
ถ้อยคำที่เกี่ยวข้องกับนิพพานมีอยู่หลายคำ อาจจะเกิดข้อกังขาที่ทำให้เข้าใจสับสนได้ โดยเฉพาะในพระไตรปิฎกมีความหมายที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้หลายนัยด้วยกัน
อรหัตโลกุตรภูมิ ภูมิของพระอรหันต์
อรหัตโลกุตรภูมิ คือ ภูมิที่พ้นจากภพ 3 ของผู้ควรแก่การบูชา หมายความว่า ผู้ที่เข้าถึงภูมินี้แล้ว ย่อมได้ชื่อว่า เป็นพระอรหันต์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 76 อธิมุตตกาลกิริยา
การทำ อธิมุตตกาลกิริยา หมายถึง อธิษฐานจิตดับชีพของตน เพื่อลงมาเกิดสร้างบารมีบนโลกมนุษย์ เป็นอานิสงส์พิเศษของพระนิยตโพธิสัตว์
เจริญธัมมานุสติ
พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ผู้มีจิดเกษม
เครื่องผูกมัดเหล่านี้เปรียบเหมือนเชือกสี่เกลียว ที่ผูกมัดตัวเราไว้กับภพ ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารไม่รู้จบสิ้น สัตวโลกต้องพบกับภัยทั้งหลาย ดิ้นกันไม่หลุด จิตจึงไม่พบกับความเกษมสำราญ มีสุขมีทุกข์คลุกเคล้ากันไป สุกๆดิบๆ จะหาสุขจริงๆนั้น ยังหาไม่พบ มีแต่หลงเพลิดเพลินไปวันๆ สภาวะของจิตเกษมจึงไม่เคยพบเจอไม่เคยรู้จัก
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางในสรรพสิ่ง
สรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ไม่ว่าจะเป็นต้นไม้ใบหญ้า รถราบ้านช่อง คนสัตว์สิ่งของ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เหมือนต้นไม้ที่เราเคยเห็นต้นเล็กๆ ไม่นานก็เจริญเติบโตขึ้น แผ่กิ่งก้านสาขาออกดอกออกผล ให้ความสดชื่นแก่ทุกชีวิต แต่ไม่นาน ดอกไม้ที่ดูสวยสดงดงามเหล่านั้น ก็เหี่ยวแห้ง ร่วงโรยไปตามกาลเวลา ชีวิตของเราก็เช่นเดียวกัน
วันวิสาขบูชา Vesak Day ตอน วันปรินิพพาน
หนฺท ทานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ นี่เป็นพระดำรัสสุดท้ายของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงรวบรวมพระโอวาททั้งปวงที่ได้ประทานมาตลอด ๔๕ พรรษานั้นลงในความไม่ประมาท
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - บัณฑิตที่แท้จริง
ธรรมดาบัณฑิต เห็นคนไขน้ำเข้านา เห็นช่างศรดัดลูกศร ให้ตรง เห็นช่างถากไม้แล้ว ย่อมถือเอาเหตุนั้นเป็นอารมณ์ มีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในอรหัตตผลได้ เหมือนเรื่องบัณฑิตสามเณร
มิจฉาสมาธิ