สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ชิตัง เม... เราชนะแล้ว
ยามใดที่เราพรั่งพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ มีศรัทธา พบเนื้อนาบุญยามนั้นเราย่อมสร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แต่ยามใดที่เราไม่มีไทยธรรมหรือโภคทรัพย์สมบัติ แม้จะมีศรัทธา มีเนื้อนาบุญ เราก็ไม่อาจจะให้ทานได้ กว่าจะสร้างบารมีอื่นๆ ได้แต่ละอย่าง ก็แสนจะลำบาก เพราะฉะนั้นทานบารมีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักสร้างบารมี
เสียงสาธุการของเทวดา
มนต์ทั้งหลาย มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน เรือนมีความไม่หมั่นเป็นมลทิน ความเกียจคร้านเป็นมลทินของผิวพรรณ ความประมาทเป็นมลทินของผู้รักษา
องค์อัมรินทราธิราช
ท้าวสักกเทวราช ถึงความเป็นผู้ประเสริฐกว่าเทพยดาทั้งหลาย เพราะความไม่ประมาท บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทไม่ว่าในกาลไหนๆ บัณฑิตทั้งหลายย่อมติเตียนความประมาท
ภาษาบาลีและสันสกฤตมีความสำคัญอย่างไร
ภาษาไทย แม้จะเป็นภาษาคนละตระกูลกับภาษาบาลีและสันสกฤต แต่ก็รับเอาคำบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยไม่น้อย อาจกล่าวได้ว่ามากกว่าภาษาอื่นๆ ที่นำมาใช้ในภาษาไทยในปัจจุบัน เช่น ภาษาอังกฤษ
เงาดําหลอน แจ้นคืนสมบัติเก่า
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
พอดีเมื่อพึงพอใจ
เหลืออีก 4 วัน จะออกพรรษาแล้ว พรรษาแห่งการบรรลุธรรม ซึ่งมีอยู่ในตัวของมนุษย์ทุก ๆ คนในโลก ไม่ว่าจะเชื้อชาติศาสนาและเผ่าพันธุ์ใดจะเชื่อหรือไม่เชื่อ รู้หรือไม่รู้ก็ตาม ล้วนมีหมด ไม่เชื่อก็มาพิสูจน์ดู ทำให้ถูกหลักวิชชา เดี๋ยวก็เข้าถึง
ความตระหนี่เป็นภัยในวัฏฏะ
คนผู้ตระหนี่กลัวความยากจนจึงไม่ให้อะไรๆ แก่ผู้ใดเลย ความกลัวยากจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ คนตระหนี่ย่อมกลัวความอดอยากข้าว ความกลัวนั่นแหละ จะกลับมาถูกต้องคนพาล ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า