มาฆบูชา พุทธมหาสันนิบาต ตอน เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็มาวัดพระธรรมกายแล้ว
วันมาฆบูชาที่จะถึงในวันพรุ่งนี้ พุทธศาสนิกชนจำนวนมากจากทั่วทุกมุมโลก โดยไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ นิกายทางศาสนา และเผ่าพันธุ์ ต่างได้ทยอยเดินทางมาถึงที่วัดพระธรรมกายเป็นจำนวนมากแล้ว ทางกลุ่มชาวจีนที่นับถือพระพุทธศาสนาก็ชวนกันมาแสวงบุญอย่างคึกคัก เพื่อฉลองส่งท้ายเทศกาลตรุษจีนเช่นสิงคโปร์ มาเลเซีย จีนแผ่นใหญ่ ฮ่องกง ไต้หวัน เป็นต้น
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์กับงานด้านศาสนศึกษา
งานด้านศาสนศึกษา หมายถึง การกิจในการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ เช่น แผนกธรรมหรือบาลี รวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม เช่น การอบรมก่อนสอบ, การสอบนักธรรม-บาลี, การมอบทุกวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา และการจัดตั้งมูลนิธิ หรือกองทุนเพื่อการศึกษา
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
พิธีตัดปอยผมและแห่นาคธรรมทายาทในโครงการบรรพชาสามเณรเนปาล 150 รูป
พิธีตัดปอยผมและแห่นาคธรรมทายาทรอบเมือง ในโครงการบรรพชาสามเณรเนปาล 150 รูป วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ถึง วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2559 ณ ประเทศเนปาล
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) องค์ที่ 8
ในการหล่อรูปเหมือนหลวงปู่ การหล่อรูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญไม่ใช่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นง่าย ๆ ดังนั้นสาธุชนผู้มีบุญทุกท่านไม่ควรพลาดโอกาสในการสั่งสมบุญนี้เพราะการหล่อ รูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นท่ามกลางเหตุแห่งความยากดังต่อไปนี้ คือ.....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
หัวหน้าพระธรรมทูตอินเดีย - เนปาลเยี่ยมศูนย์วัดพระธรรมกาย
หัวหน้าพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย - เนปาล เมตตามาเยี่ยมศูนย์สาขาวัดพระธรรมกาย ณ เมืองโกดาวารี