จดหมาย จาก...พระภิกษุ ผู้เป็นต้นเรื่องของ “แก้วกลางดอย”
พระศุภชัย คณสกฺโก (ศุภชัย พยุงจำปี)
"บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป" เมนูด่วนของชาวหอที่ต้องสร้างสรรค์
จุลปทุมชาดก ว่าด้วยการลงโทษหญิงชายทำชู้กัน
พระจุลปทุมกุมารได้ทรงช่วยเหลือโจรที่โดนตัดแขนตัดขาที่ถูกปล่อยลงแพล่องตามแม่น้ำ พระองค์ทรงเยียวยาให้อาหารดูแล จนหายบาดเจ็บในเวลาต่อมา การสร้างบุญของเจ้าชายครั้งนั้นเหมือนการเก็บงูเห่ามาเลี้ยง เมื่อเจ้าชายออกไปหาผลไม้ในป่า พระชายาสาวก็กระทำอนาจารร่วมกับโจรนั้นทุกครั้ง ความชั่วมักหอมหวานจนกลายเป็นสิ่งถูกต้องเสมอในความคิดของคนชั่ว
โทษของผู้รังแกสมณะ
ความจริง บาปที่ตนทำแล้ว อันเกิดจากตน ที่มีตนเป็นแดนเกิด ย่อมย่ำยีบุคคล ผู้มีปัญญาทราม เหมือนเพชรย่ำยีแก้วมณีที่เกิดแต่หิน ฉะนั้น
อานิสงส์ถวายทานด้วยตัวเอง
สำหรับผู้ปรารถนาอยู่ร่วมกับทวยเทพทั้งหลาย ควรที่จะบำเพ็ญกุศลไว้ให้มาก เพราะว่าผู้ที่ทำบุญไว้ดีแล้ว ย่อมเพียบพร้อมด้วยโภคสมบัติบันเทิงอยู่ในสุคติสวรรค์
จริงหรือไม่ที่มูลนิธิธรรมกายบุกรุกป่าสร้างวัดตามวนอุทยานแห่งชาติ
ผู้บังคับบัญชาในกองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ท่านอยากให้เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าทุกคนเป็นคนดีมีคุณธรรม จึงมาขอให้หลวงพ่อช่วยอบรมศีลธรรมให้เจ้าหน้าที่พวกนี้
แม้มืดตื้อมืดมิด ก็มีสิทธิเข้าถึงธรรม
ไม่ว่าจะเห็นหรือไม่เห็นอะไร ลูกก็ขอแค่ให้ได้นั่งสมาธิ ไม่ยอมขาดเลย จนวันหนึ่งเหมือนลูกตกลงเหว แม้จะตกใจมาก แต่ยังครองสติได้ อยู่ในสภาวะที่พึงพอใจ สักครู่ลูกก็เห็นดวงสว่างเหมือนพระอาทิตย์ ขนาดเท่าฟองไข่ มีแสงสว่างอยู่ที่กลางท้อง ขณะนั้นความสุขก็พรั่งพรูแบบพูดไม่ออกบอกไม่ถูกเป็นความสุขที่ไม่มีความทุกข์เจือปน เหมือนเอาความทุกข์ออกจากตัวไป กองไว้หน้าบ้าน
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - สักการะรอยพระพุทธบาท
ผลแห่งบุญนี้ น่าอัศจรรย์เหลือเกิน เราได้เห็นรอยพระบาทที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ติสสะ ทรงประทับรอยไว้ เป็นผู้มีใจร่าเริงโสมนัส ยังจิตให้เลื่อมใสในรอยพระบาท ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราไม่เคยไปสู่สุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการสักการะรอยพระพุทธบาท