บทฝึกสำหรับการสร้างนิสัยดี
บทฝึกสำคัญสำหรับใช้เป็นหลักในการสร้างนิสัยดี จึงอยู่ที่การใช้สติพิจารณาสิ่งที่เราทำซ้ำๆ บ่อยๆ อยู่เป็นประจำทุกวันอย่างแยบคาย พิจารณาทบไปทวนมา เลือกทำเฉพาะสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม และมีคุณประโยชน์ โดยเริ่มตั้งแต่คิดดี พูดดี และทำดี อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
การดูแลรักษาสุขภาพฟัน..ทำอย่างไร
หลวงพ่อได้รับรายงานจากทันตแพทย์ว่า สามเณรส่วนใหญ่สุขภาพฟันไม่ค่อยดี เพราะชอบฉันลูกอม และแปรงฝันผิดวิธี
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เป็นการปฏิบัติตามหลักทางสายกลาง โดยการฝึกใจให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา(ศูนย์กลางกายฐานที่ 7)อย่างต่อเนื่อง ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจซัดซ่านไปในอารมณ์ต่างๆในความคิดต่างๆ
นิสัย-ความสามัคคี-หลวงพ่อตอบปัญหา
นิสัยของคนเราทั้งดีและไม่ดี เกิดขี้นมาได้อย่างไร,เราจะฝึกลูกหลานของเราอย่างไรให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีระเบียบวินัยเคร่งครัด,จะทำอย่างไรดี ให้คนในชาติของเรามีความสามัคคีกัน
เลี้ยงลูกอย่างไร ให้เก่งและดี
ตอนนี้เขาบอกว่า “เวลาเหมอยากเห็นองค์พระ นั่งนาทีเดียว ก็เห็นแล้ว แต่จะเห็นองค์เล็กนะหม่าม๊า (เอานิ้วโป้งนิ้วชี้จรดกัน) พอนาทีที่2 ก็จะใหญ่ (ยกมืออีกข้างมาประกบ) 10นาทีจะใหญ่มาก (ช่วง 1ไม้บรรทัด) แต่ถ้า 30นาทีก็จะใหญ่ๆไปอีก (ประมาณ1เมตร)” พอนั่งไปนานๆ ประมาณ 40นาที เหมก็กางแขนออกไปสุดเลยค่ะ
มูลกรรมฐานเรื่อง “ ทันตา ” ตอนที่ 1
ทันตา หรือฟันในปาก เป็นอวัยวะที่เรารู้จักและคุ้นเคยกันดี เพราะฟันเป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ที่คุณพ่อคุณแม่ให้มา เพื่อให้เราใช้ดำรงชีวิตตั้งแต่เรายังเป็นเด็กทารก
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
ทำไมต้องทำบุญ 7 วัน 50 วัน และ 100 วัน
พบดื่มน้ำชาวิเศษยิ่งเสียกว่าดื่มน้ำ เพราะมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ
การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน
คำถาม : การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน หลังจากที่เสียชีวิตมีความแตกต่างกันอย่างไรค่ะ