บทสัมภาษณ์ กัลฯ อารีพันธุ์ ตรีอนุสรณ์ อุปัฏฐาก คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
การที่เราจะได้สร้าง บารมีกันอย่างตลอดรอดฝั่งนั้นจะต้องเป็นคนที่มี บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ...
ผลดีของการ "อดกลั้น"
ภิกษุทั้งหลาย หากมีพวกโจรผู้มีความประพฤติต่ำช้า เอาเลื่อย เลื่อยอวัยวะของพวกเธอ แม้ในเหตุนั้น ภิกษุหรือภิกษุณีรูปใดมีใจคิดร้ายต่อโจรเหล่านั้น ไม่ชื่อว่าเป็นผู้ทำตามคำสอนของเรา
โครงการ Academy of Life ณ ภูวนาลีรีสอร์ท
เป้าหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนาคือการทำความบริสุทธิ์ทางการ วาจา ใจ ความบริสุทธิ์นั้น จะบังเกิดขึ้นได้ด้วยการทำใจให้หยุดนิ่ง
พรปีใหม่ 2557 จากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชให้พรปีใหม่ปีพุทธศักราช 2557 ขอให้ชาวไทย จงรักษากายวาจา ใจ เพื่อให้ความสงบสุขตลอดปีและตลอดไป
ศีลคือตัวคูณ บริสุทธิ์มากได้บุญมาก
ศีล อุปมาเหมือนชันที่ใช้อุดรอยรั่วของภาชนะ สิ่งที่จะรองรับบุญนั้น คือ ใจ เมื่อศีลพร่องก็เหมือนกับภาชนะมีรอยรั่ว
อุจฉังคชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงผู้มีใจรักพี่รักน้อง
หญิงสาวชาวนาจำเป็นต้องเลือกขอชีวิต สามี พี่ชาย และลูกชายได้เพียงคนเดียวเท่านั้น นางจึงได้ชี้แจงต่อพระราชาไปว่า “ ขอเดชะพระองค์ผู้เป็นราชาเทพ อันบุตรนั้นย่อมเกิดในครรภ์เหมือนอยู่ในพกในห่อ หม่อมฉันย่อมให้กำเนิดบุตรเองได้ อันสามีเล่าหากต้องการ เมื่อเดินไปตามทาง ย่อมหาได้ไม่ยาก แต่โอกาสจะมีพี่น้องร่วมท้องพ่อแม่เดียวกัน หม่อมฉันมองไม่เห็นทาง เพราะพ่อแม่ได้เสียชีวิตไปแล้ว ”
ตารางปฏิบัติธรรมใจใส ประจำปี 2559
ปฏิบัติธรรมกลันกาย วาจา ใจ ให้ใส สะอาด บริสุทธิ์ เพื่อรองรับบุญให้เต็มที่ ทำอะไรก็ประสบความสำเร็จได้ง่าย
กณเวรชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงหลายผัว
นางสามา เป็นหญิงคณิกา ผู้มีจิตปฏิพัทธ์ในมหาโจรรูปงาม นางจึงใช้อุบายหลอกล่อบุตรเศรษฐีผู้ซึ่งหลงรักตน ให้สับเปลี่ยนตัวและถูกรับโทษประหารแทนมหาโจร
จุลปทุมชาดก ว่าด้วยการลงโทษหญิงชายทำชู้กัน
พระจุลปทุมกุมารได้ทรงช่วยเหลือโจรที่โดนตัดแขนตัดขาที่ถูกปล่อยลงแพล่องตามแม่น้ำ พระองค์ทรงเยียวยาให้อาหารดูแล จนหายบาดเจ็บในเวลาต่อมา การสร้างบุญของเจ้าชายครั้งนั้นเหมือนการเก็บงูเห่ามาเลี้ยง เมื่อเจ้าชายออกไปหาผลไม้ในป่า พระชายาสาวก็กระทำอนาจารร่วมกับโจรนั้นทุกครั้ง ความชั่วมักหอมหวานจนกลายเป็นสิ่งถูกต้องเสมอในความคิดของคนชั่ว
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ