มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ
รู้แจ้งด้วยธรรมกาย
ชนพาลทั้งหลายผู้ไม่รู้แจ้ง พากันลุ่มหลงอยู่ในโลกนี้ ความมืดตื้อย่อมมีแก่ชนพาลทั้งหลายผู้ถูกอวิชชาหุ้มห่อแล้ว ผู้ไม่เห็นอยู่ ส่วนนิพพานเป็นธรรมชาติเปิดเผยแก่สัตบุรุษผู้เห็นอยู่ เหมือนอย่างแสงสว่าง ฉะนั้น ชนทั้งหลายเป็นผู้ค้นคว้า ไม่ฉลาดต่อธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานที่มีอยู่ในที่ใกล้ ชนทั้งหลายผู้ถูกภวราคะครอบงำแล้ว แล่นไปตามกระแสภวตัณหา ผู้เข้าถึงวัฏฏะอันเป็นบ่วงแห่งมารเนืองๆไม่ตรัสรู้ธรรมนี้ได้โดยง่าย
แต่งรถกันกระสุน บุกตลาด ธุรกิจป้องกันความตาย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 7
ทรงสอนพระองค์เองว่า เตมิยกุมารเอย ชาติก่อนๆโน้นเจ้าก็เคยอดอาหารมานับครั้งไม่ถ้วนแล้วมาบัดนี้ เจ้าจะหวั่นใจไปทำไมไฟนี้แม้จะร้อนเพียงใด แต่ก็เทียบไม่ได้กับไฟในนรก แม้เราจะตายในกองไฟนี้ก็ยังประเสริฐกว่า
ผังจราจร โครงการธรรมยาตรา ปีที่ 13 ณ อนุสณ์สถานคลองบางนางแท่น
ผังจราจรจุดประทีป - ตักบาตร โครงการธรรมยาตรา ปีที่ 13 วันที่ 10-11 มกราคม พ.ศ. 2568 ณ อนุสณ์สถานคลองบางนางแท่น อ.สามพราน จ.นครปฐม
จดหมายจากสามเณรโครงการหน่อแก้วเปรียญธรรม ตอน ผมจะเป็นพระมหา ป.ธ. 9 ที่ได้ประโยค 10
1.ลูกเณรชื่อ สามเณร ฉัตรธรรม เค้ามาก ชื่อเล่น โป้ง อายุ 13 ปี 2.ลูกเณรชื่อ สามเณร บาส โหล่งกลาง ครับ อายุ 12 ปี
ความสงบสำรวมที่ตราตรึงทุกดวงใจ
แท้จริงแล้ว ศรัทธาในพระพุทธศาสนาไม่ได้หายไปไหน แต่ชุมชนมีพระสงฆ์อยู่น้อย ขาดผู้นำในการทำความดี ทำกิจกรรมดีๆ
เจาะจุดแข็ง-ทันโลกทันธรรม
เรื่องของจุดแข็งและจุกอ่อนในแต่ละคนนั้น ได้มีผู้ที่ศึกษาและถ่ายทอดความรู้ในเรื่องนี้ไว้หลายท่าน แต่ในที่นี้จะขอนำงานเขียนของ MARCUS BUCKINGHAM และ DONALD O. CLIFTON, Ph.D. มาคุย