เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ กับการพระศาสนา ด้านสาธารณูปการ
การพระศาสนา ด้านสาธารณูปการ ของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺญมหาเถร ป.ธ.๙) จากหนังสือที่ระลึก ในโอกาสอายุวัฒนมงคล 90 ปี พรรษา 70
ประมวลภาพพิธีมอบตราตั้งและพัดยศในโอกาสแต่งตั้งพระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ
พิธีมุทิตาสักการะ ในวันอาทิตย์ที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เนื่องในโอกาสที่พระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ เปรียญธรรม ๙ ประโยค ราชบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร แต่งตั้งให้ พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นฐานานุกรม ในราชทินนามที่ พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ ไพบูลศาสนภารธุราทร บวรสังฆานุนายก
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
น้อมใจไว้ในพุทธองค์
เราได้เป็นพระราชาสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็นใหญ่ในแว่นแคว้น ยินดียิ่งในกรรมของตน นี้เป็นผลแห่งการบูชาด้วยดอกไม้ ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราโปรยดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่ ๘๐ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มียศอนันต์ สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ ก็ด้วยอานุภาพแห่งพุทธบูชานั้น
วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร
ประวัติ วัดโมลีโลกยาราม ผู้สร้างและผู้ปฏิสังขรณ์ ประวัติ วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร รวบรวมเรียบเรียงโดย พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน์ ป.ธ.๙)
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก
วัดบึงพลาญชัย
วัดบึงพลาญชัยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ที่ถนนประชาธรรมรักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ ๑๐ ไร่เศษ เป็นศูนย์อบรมศึกษาของพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง ๑๙ จังหวัด มีพระภิกษุและสามเณรจำพรรษาประมาณ ๑๓๐ รูป
วัดพิกุลทอง
วัดพิกุลทองเป็นวัดเก่าแก่ไม่ทราบประวัติผู้สร้างได้มีการบูรณะขึ้นใหม่อย่างดีในชั้นหลัง มีพื้นที่ทั้งหมด ๙ ไร่ ๙๐ ตารางวา อาณาเขตติดลำคลองด้านทิศใต้และทิศตะวันตกอีก ๒ ด้านติดพื้นที่ของเอกชน ซึ่งปัจจุบันทางวัดขอใช้เป็นทางเข้า-ออก