มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - มหาสมบัติของผู้มีบุญ
ดูเถิดว่า บุญนี่สำคัญจริงๆ มีพลานุภาพยิ่งกว่าสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น แม้พระบรมศาสดายังตรัสย้ำว่า "ใครมีบุญมาก สิ่งที่ดีมีสิริมงคลทั้งหลายจะไปอยู่กับผู้มีบุญมาก บุญจะดึงดูดสิริ ทั้งหลายมา ใครจะลักเอาไปไม่ได้ เป็นของอสาธารณะ"
สามเณรแก้วแห่งบังคลาเทศ
กิจวัตรประจำวันของสามเณรทุกรูป คือ ตื่นนอนเวลา 3.00น. เริ่มเรียนพระสูตรตอนตีสี่ ปกติแล้วพระ เณร ส่วนใหญ่ในประเทศบังคลาเทศ ไม่มีการบิณฑบาต เพราะชุมชนชาวพุทธมีอยู่น้อย ยกเว้นในวัดใหญ่ๆเท่านั้น ช่วงบ่าย เริ่มเรียนหนังสือตั้งแต่เวลา 14.00น.
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - แผ่นดินธรรม...แผ่นดินทอง
หากยุคสมัยใดได้ผู้นำที่ดีมีคุณธรรมมา บริหารประเทศ ยุคสมัยนั้นประเทศชาติก็เจริญรุ่งเรือง ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข โลกย่อมบังเกิดสันติสุข ไม่มีการรบราฆ่าฟันกัน มีแต่การแบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ปรารถนาดีต่อกัน เมื่อกระแสใจของชาวโลก ตั้งมั่นอยู่ในคุณงามความดี ไม่ประมาทในชีวิต ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา สั่งสมบุญอยู่เป็นนิตย์ ฝนฟ้าจะตกต้องตามฤดูกาล ข้าวปลาอาหารจะอุดมสมบูรณ์
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม
เราจะเห็นว่า การได้อยู่ในปฏิรูปเทส เช่นพระวักกลินั้น เป็นมงคลยิ่งแก่ชีวิต เพราะท่านอยู่ในกรุงสาวัตถี ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดเชตวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่นานที่สุด จึงมีโอกาสได้เห็นพระพุทธองค์ เห็นแล้วก็มีความศรัทธาเลื่อมใส ได้บวชในบวรพระพุทธศาสนา ได้ฟังธรรม ฝึกฝนตนเอง จนในที่สุดได้บรรลุมรรคผลนิพพาน
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สหายแห่งธรรม
แม้พญาช้างจะมีอุปสรรคคือไม่ได้กายมนุษย์ แต่ด้วยดวงใจที่เต็มเปี่ยมด้วยพลังศรัทธา จึงสามารถทำกิจทุกอย่าง คอยอุปัฏฐากพระพุทธองค์โดยมิได้ขาดตกบกพร่องเลย พญาช้าง ได้ใช้งวงจับหม้อไปตักน้ำฉันน้ำใช้มาตั้งไว้ เวลากลางวันก็เอางวง หักกิ่งไม้มากวาดบริเวณที่พัก เพื่อให้พระบรมศาดาได้ใช้เป็นที่เสด็จเดินจงกรม
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - เลือกคบคนให้เป็น
พระเทวทัต มีความปรารถนาลามกจะตีเสมอพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คิดอยากจะเป็นใหญ่ปกครองคณะสงฆ์ จึงแสดงอิทธิฤทธิ์และเกลี้ยกล่อมเจ้าชายอชาตศัตรูให้เลื่อมใสตนเอง จากนั้นเริ่มยุยงให้ปลงพระชนม์ พระบิดา ส่วนพระเทวทัตจะปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วเป็นศาสดาแทน
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๒๒ ( ผู้สําเร็จราชการแผ่นดิน )
เมื่อมโหสถบัณฑิตเข้ารับราชการ ผ่านร้อนผ่านหนาวมามาก ผ่านช่วงเวลาที่วิกฤติมาพอสมควร การกระทำของท่านได้พิสูจน์ความเป็นบัณฑิตอย่างแท้จริงให้พระราชาได้เห็น ทำให้พระเจ้าวิเทหราช ทรงมีพระหฤทัยโสมนัส ทรงเลื่อมใส ในคุณสมบัติของมโหสถเป็นอย่างยิ่ง ทรงดำริให้มโหสถบัณฑิติเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๒ ( ไขปริศนา )
" ท่านเป็นสัตว์ไม่กินหญ้าจึงไม่เป็นที่สงสัยของควาญช้าง ฉะนั้น ท่านต้องเข้าไปในโรงช้าง ฉวยโอกาสคาบหญ้ามาให้ฉันเถิด ส่วนตัวฉันเองเป็นสัตว์ไม่กินเนื้อ จึงไม่เป็นที่สงสัยของพ่อครัว เพราะฉะนั้น ฉันจะเข้าไปในโรงครัวนำเนื้อมาให้ท่าน "
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๑ ( สนองราชกิจ )
การปฏิบัติธรรมเป็นหัวใจในการสร้างบารมี ใคร อยากจะประสบความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม ก็อย่าดูเบาในเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของท่านั่ง การหลับตา หรือการทำใจให้สบายๆ ให้ปลอดโปร่ง ปลดปล่อยวางจากภารกิจการงานต่างๆ เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่องปลิโพธความกังวลใจในชีวิตประจำวัน เรื่องการทำมาหากิน ครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย การศึกษาเล่าเรียน หรือแม้แต่การเดินทาง