ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
ปัญญาชน คบบัณฑิต
ปัญญาชน คบบัณฑิต แม้เพียงครู่เดียว ก็พลันรู้แจ้งพระธรรม เหมือนลิ้นรู้รสแกง
รู้จักกายที่แท้จริงของตัวเอง
สัตว์อันราคะย้อมแล้ว ถูกกองอวิชชาหุ้มห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด ลึกซึ้ง ยากที่จะเห็น ละเอียดยิ่ง อันจะยังสัตว์ให้ถึงธรรมที่ทวนกระแส คือ นิพพาน
Make All-Encompassing Resolutions อธิษฐานล้อมคอก
ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ต้องอธิษฐานล้อมคอกไว้ ให้หมดทุกสิ่งทุกอย่าง ขอให้หูดี ตาดี โรคภัยไข้เจ็บไม่มี ให้อาการ ๓๒ ครบบริบูรณ์ ขอให้ได้เกิดเป็นชาย ได้เพศบริสุทธิ์ ไม่หลงใหลในเพศตรงข้าม
มัชฌิมาปฏิปทา เส้นทางสู่ความหลุดพ้น
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มัชฌิมาปฏิปทาที่เป็นธรรมทำให้มีดวงตา ทำให้เกิดญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การเจรจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจชอบ
วันธรรมชัย ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ
วันธรรมชัยนี้มีบุญใหญ่ เรามาศึกษาโอวาทที่คุณครูไม่ใหญ่ไห้ไว้ว่า "ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ" แล้วอะไรคือความหมายของคำว่า ใจใส ใจสบาย ทำอย่างไรให้ใจใส "ใจหยุดที่ฐานที่เจ็ด ทำอะไรก็สำเร็จอย่างสบายๆ" ใจหยุดเป็นอย่างไร ทำอย่างไรให้ใจหยุด พร้อมกับมาเอาบุญใหญ่จากการถวายยารักษาโรคในวันธรรมชัยนี้ 02-831-1000
มาร ๕ ฝูง
ประทีปที่ส่องแสง ถ้ามีแสงน้อย ย่อมดับไปด้วยลมได้ เหมือนเถาวัลย์ที่เหี่ยวแห้งไป ฉันใด ท่านก็จงเป็นผู้ไม่ถือมั่น แล้วกำจัดมาร ผู้มีโคตรเสมอด้วยพระอินทร์ฉันนั้นเถิด เมื่อท่านกำจัดมารได้อย่างนี้แล้ว เป็นผู้ปราศจากความกำหนัดพอใจในเวทนาทั้งหลาย จะเป็นผู้มีความเย็น รอคอยเวลานิพพานในอัตภาพนี้ทีเดียว
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ