คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน Right & Wrong Concentration
คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน Right & Wrong Concentration สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ
Pure In Body, Speech, And Mind บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ
บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ คุณยายสอนให้อธิษฐานว่า ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้บริสุทธิ์กาย วาจา ใจ ให้เป็นผู้มีบุญมาก ๆ มีบุญสอนตัวเองได้ สอนให้ทำแต่ความดี ต้องสอนตัวเองได้ทีเดียว จึงจะดี
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว
Born Alone, Die Alone เกิดคนเดียว ตายคนเดียว
ชีวิตเราเกิดมาคนเดียว ตายก็คนเดียว จะมัวไปห่วงใครไม่ได้ ตัวเราเองยังเอาตัวไม่รอด เมื่อตัวเราเองยังเอาตัวเองไม่รอด ยังไม่มีที่ยึดที่เกาะแน่นอน ก็แสดงว่า ตัวเรายังไม่แน่จริง อาจจะเสียทีพญามารเมื่อไรก็ได้
กิเลส เพื่อนซี้ที่ไม่รู้จัก
กิเลส เป็นศัพท์เฉพาะ มีอยู่ในพระไตรปิฎกเท่านั้น ผู้ที่เห็นกิเลสเป็นท่านแรก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาปราสาท)
พระเจ้ามหาปนาทนั้นมีปราสาทล้วนแล้วไปด้วยทอง กว้าง ๑๖ ชั่วธนูตก สูง ๑ พันชั่วธนู และปราสาทนั้นมีพื้น ๗ ชั้น ประกอบไปด้วยธง สำเร็จด้วยแก้วมีสีเขียว มีนางฟ้อน ๖ พัน แบ่งออกเป็น ๗ พวก ฟ้อนรำอยู่ในปราสาทนั้น
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ก่อนลมหายเฮือกสุดท้าย)
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ มีความเกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป การเข้าไปสงบระงับสังขารเหล่านั้น นำสุขมาให้
188 คำสอนยาย ขุมทรัพย์ล้ำค่าจากคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
เลิศล้ำ 188 คำสอนยาย จาก 14 หมวด คุณยายพูดน้อย แต่ทุกถ้อยคำนั้นล้ำค่า เป็นถ้อยคำแห่งความเมตตา คำสอนของท่าน จึงเป็นความทรงจำอันงดงามที่ขอน้อมนำมาถ่ายทอดสู่ชนทั้งหลายเพื่อประกาศพระคุณของคุณยาย ผู้เป็นมิ่งขวัญ และเป็นยอดกัลยาณมิตร...
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น